หน้าหลัก
แนะนำกลุ่มงาน
ข่าวสารและกิจกรรม
ข้อมูลบุคลากร
ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
ปฏิทินกิจกรรม
จัดการฐานข้อมูล
โครงสร้างการบริหาร
ปรัชญา/วิสัยทัศน์/พันธกิจ
E-Book KSU
ข่าวประชาสัมพันธ์
หนังสือ,วารสาร...ใหม่ประจำเดือน
ข่าวกิจกรรมกลุ่มงานวิทยบริการ
วารสาร ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2563
วารสาร ประจำเดือน ธ.ค.62-ม.ค.63
หนังสือใหม่ มกราคม 2563
วารสาร ประจำเดือน พฤศจิกายน 2562
ประชุมงานวิทยบริการและเทคโนโลยีการศึกษา ครั้งที่ 3/2562
การลงนาม MOU โครงการความร่วมมือเพื่อสรรหาและใช้งานทรัพยากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทฐานข้อมูลออนไลน์(Online Database) และฐานข้อมูลประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ชื่อฐานข้อมูล EBSCO eBooks Collection จำนวน 22 ชื่อเรื่อง
แคลคูลัส1สำหรับวิศวกร
งานวิทยบริการและเทคโนโลยีการศึกษา ร่วมกับ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา ได้จัดอบรม
ระบบจำนวน (Number System)
ทฤษฎีจำนวน
เมนูหลัก
หน้าหลัก
มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
การบริการของห้องสมุด
ข่าวภาพ/กิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
Administrator
ห้องสมุดกฎหมาย
ข้อมูลทั่วไป
สืบค้นหนังสือกฎหมาย
สืบค้นราชกิจจานุเบกษา
สืบค้นกฏหมายฏีกา
ทรัพยากรสารสนเทศ
ฐานข้อมูลออนไลน์
สืบค้นวิทยานิพนธ์ไทย TDC
ฐานข้อมูล E-Book
ฐานข้อมูลกฤตภาค
สืบค้นฐานข้อมูลบทความ Proceeding
Thai Journal Impact Factor
ทรัพยากรสารสนเทศ
อาเซียนศึกษา
ประเทศใน AEC
ความเป็นมา AEC
AEC BLUEPRINT
กฎบัตรอาเซียน
ลิงค์ที่น่าสนใจ
สนง.คณะกรรมการการอุดมศึกษา
สำนักงาน ก.พ.
สนง.นคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานประกันสังคม
สำนักงบประมาณ
สำนักงาน ก.พ.ร.
สำนักงาน สมศ.
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
ขณะนี้ออนไลน์ : 1
เยี่ยมชมวันนี้ : 134
เยี่ยมชมเดือนนี้ : 4,237
เยี่ยมชมปีนี้ : 4,236
เยี่ยมชมทั้งหมด : 362,925
IP : 54.85.57.0
เริ่มนับวันที่ 1 กันยายน 2554
ปรัชญา/วิสัยทัศน์/พันธกิจ
งานวิทยบริการ (About us)
กลุ่มงานวิทยบริการ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
กลุ่มงานวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2545โดย สังกัดฝ่ายวิชาการโครงการจัดตั้งสถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์ เป็นอาคารห้องสมุดชั้นเดียวห่างจากอาคารเรียนชั่วคราว 50เมตร โดยมีทางเดินเชื่อมต่อกัน
ปี พ.ศ. 2546ย้ายห้องสมุดมาอยู่ที่อาคารเรียนรวม 6ชั้น ตึก B ชั้น 2โดยมีพื้นที่ห้องสมุด 1ห้องเรียน โครงสร้างการบริหารฝ่ายห้องสมุด สังกัดสำนักส่งเสริมการเรียนรู้สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์
ปี พ.ศ. 2548เปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงาน เป็น “ กองวิทยบริการ ” สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ปี พ.ศ. 2549ย้ายห้องสมุดมาอยู่ที่อาคารบรรณราชนครินทร์
ปี พ.ศ. 2550 เปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงานเป็น “ กลุ่มงานวิทยบริการ และเทคโนโลยี สารสนเทศ ” สังกัดกองกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
ปี พ.ศ. 2555 เปลี่ยนเป็น “กลุ่มงานวิทยบริการ”สังกัดกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
ปี พ.ศ. 2557 ได้จัดทำห้องสมุดกฎหมายเพื่อให้บริการหนังสือ วารสารด้านกฎหมาย สื่อสิ่งพิมพ์ และคอมพิวเตอร์ โดยความร่วมมือกับคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ บริเวณชั้น 3 อาคารบรรณราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
ปี พ.ศ. 2558 มีการควบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ กับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ เป็น “มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์” ที่มีพื้นที่ 2 แห่งและให้มีชื่อกำกับต่อท้ายเป็น “ในเมือง” และ “นามน” ห้องสมุดยังมีให้บริการอยู่ทั้ง 2 แห่งเหมือนเดิม ห้องสมุด(นามน) ได้มีการขยายพื้นที่ให้บริการในชั้น 2 และ ชั้น 3 และห้องวิจัยเดิมได้จัดทำเป็นห้อง “หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
”
ปรัชญา
แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เพิ่มพูนความคิดพัฒนาคุณธรรม
วิสัยทัศน์
ศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม
พันธกิจ
•
จัดการทรัพยากรสารสนเทศเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ตลอดชีวิต
•
ศูนย์กลางเครือข่ายสารสนเทศในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
•
สนับสนุนการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
•
ส่งเสริมและพัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
• บำรุงดูแลรักษาสื่อสารสนเทศให้มีความพร้อมในการใช้งาน
นโยบาย
•
จัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้เพียงพอ
เช่น หนังสือ สื่ออิเลคทรอนิกส์
•
จัดหาระบบห้องสมุดที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน
•
ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ มีระบบการตรวจสอบและประเมินรวมทั้งปรับปรุง
แก้ไขให้
เป็นปัจจุบัน
•
มีการบริหารงานแบบธรรมาภิบาล
• มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ที่หลากหลายต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์
•
เพื่อตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของผู้ใช้บริการ
•
เพื่อมีระบบบริการที่สะดวก รวดเร็ว และทันสมัย
•
มีช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่หลากหลาย
•
พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการเรียนรู้
•
เป็นแหล่งบริการวิชาการของชุมชนและท้องถิ่น
เป้าหมาย
•
ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจในการใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ
•
มีระบบบริการสารสนเทศที่ทันสมัยและหลากหลาย ตลอด
24
ชั่วโมง
• มีสารสนเทศเพียงพอต่อการให้บริการ ภาระงาน